วันอังคารที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2555

ตรรกศาสตร์



ประพจน์ที่สมมูลกัน
           ประพจน์ 2 ประพจน์จะสมมูลกัน ก็ต่อเมื่อ ประพจน์ทั้งสองมีค่าความจริงเหมือนกัน ทุกกรณีของค่าความจริงของประพจน์ย่อย
ตัวอย่างประพจน์ที่สมมูลกันที่ควรทราบ มีดังนี้
p ∧ q
สมมูลกับ
q ∧ p
p ∨ q
สมมูลกับ
q ∨ p
(p ∧ q) ∧ r
สมมูลกับ
p ∧ (q ∧ r)
(p ∨ q) ∨ r
สมมูลกับ
p ∨ (q ∨ r)
p ∧ (q ∨ r)
สมมูลกับ
(p ∧ q) ∨ ( p ∧ r)
p ∨ (q ∧ r)
สมมูลกับ
(p ∨ q) ∧ ( p ∨ r)
p → q
สมมูลกับ
~p ∨ q
p → q
สมมูลกับ
~q → ~p
p ⇔ q
สมมูลกับ
(p → q) ∧ (q → p)
ประพจน์ที่เป็นนิเสธกัน
           ประพจน์ 2 ประพจน์เป็นนิเสธกัน ก็ต่อเมื่อ ประพจน์ทั้งสองมีค่าความจริงตรงข้ามกันทุกกรณีของค่าความจริงของประพจน์ย่อย
ตัวอย่างประพจน์ที่เป็นนิเสธกันที่ควรทราบ มีดังนี้
~(p ∧ q)
สมมูลกับ
~p ∨ ~q
~(p ∨ q)
สมมูลกับ
~p ∧ ~q
~(p → q)
สมมูลกับ
p ∧ ~q
~(p ⇔ q)
สมมูลกับ
(p ⇔ ~q) ∨(q ⇔ ~p)
~(p ⇔ q)
สมมูลกับ
(p ∧ ~q) ∨ ( q ∧~p)
พิสูจน์
จะเห็นว่า p ∧ q สมมูลกับ q ∧ p
         ~(p ∧ q) สมมูลกับ ~p ∨ ~q เป็นนิเสธของ p ∧ q
ประพจน์ที่เป็นสัจนิรันดร์ คือ ประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริงทุกกรณีของประพจน์ย่อย
ตัวอย่างประพจน์ที่เป็นสัจนิรันดร์ที่ควรทราบ มีดังนี้
p ∨ ~q[ ~p ∧ ( p ∨ q)] → q
~(p ∧ ~q)[ ( p → q) ∧ ~q ] → ~p
(p ∧ q) → p(p ∧ q) ⇔ (q ∧ p)
(p ∧ q) → q(p ∨ q) ⇔ (q ∨ p)
p → (p ∨ q)(p → q) ⇔ (~p ∨ q)
q → (p ∨ q)(p → q) ⇔ (~q → ~p)
[ p ∧ ( p → q)] → q(~p ∨ q) ⇔ (~q → ~p)
[ ~p ∧ ( p → q)] → ~q( p ⇔ q) ⇔ [(p → q) ∧ (q → p)]
ข้อสังเกตประพจน์ที่สมมูลกัน เมื่อนำมาเชื่อมด้วยตัวเชื่อม ⇔ จะได้ประพจน์ใหม่ซึ่งเป็นสัจนิรันดร์
นั่นคือ ถ้า A และ B สมมูลกันแล้ว A ⇔ B เป็นสัจนิรันดร์
พิสูจน์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น